โครงการวิจัย
การประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนแบบผสมผสานผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับใช้กับชุดบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมอาหารทะเล
Application of Renewable Hybrid Energy in Electroicity Generation for Wastewater Treatment From Seafood Industry
รายละเอียดโครงการ
ปีงบประมาณ | 2560 |
หน่วยงานเจ้าของโครงการ | |
ลักษณะโครงการ | โครงการใหม่ |
ประเภทโครงการ | โครงการเดี่ยว |
ประเภทงานวิจัย | |
วันที่เริ่มโครงการวิจัย (พ.ศ.) | |
วันที่สิ้นสุดโครงการวิจัย (พ.ศ.) | |
วันที่ได้รับทุนวิจัย (พ.ศ.) | |
ประเภททุนวิจัย | งบประมาณแผ่นดิน |
สถานะโครงการ | สิ้นสุดโครงการ(ส่งผลผลิตเรียบร้อยแล้ว) |
เลขที่สัญญา | |
เป็นโครงการวิจัยที่ใช้ในการจบการศึกษา | ไม่ใช่ |
เป็นโครงการวิจัยรับใช้สังคม | ไม่ใช่ |
บทคัดย่อโครงการ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมผลิตกระแสไฟฟ้าสา หรับใช้ กับชุดบา บัดน้า เสียจากอุตสาหกรรมอาหารทะเล เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในการบา บัด โดยการนา พลังงานไฟฟ้า ที่ผลิตจากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมมาใช้ในการทา งานของระบบควบคุมกระบวนการบา บัดน้า เสีย โดย การใช้เซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 350 วัตต์ ควบคุมการเคลื่อนที่ของแผงตามดวงอาทิตย์ และกังหันลมแบบแกนตั้ง ขนาด 70 วัตต์ จานวน 2 ตัว แบตเตอรี่ ขนาด 12 โวลต์ 150 แอมแปร์ต่อชั่วโมง มีระบบควบคุมการทางานด้วยบอร์ด Arduino แล้วทา การเขียนโปรแกรมผ่านบอร์ด Lattepanda โดยนา พลังงานไฟฟ้าที่ได้ไปใช้กับชุดทดลองบา บัดน้า เสีย ขนาด 80 ลิตร จากการทดสอบการทา งานในการบา บัดน้า เสียพบว่ามีประสิทธิภาพในการกา จัดซีโอดี ของแข็ง แขวนลอย และของแข็งละลายน้า ร้อยละ 98.17 98.12 และ 62.95 ตามลา ดับ และมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ กฎหมายกาหนด โดยพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม สามารถผลิตได้เฉลี่ย 3,002.8 วัตต์ ชั่วโมง ซึ่งกระบวนการบา บัดน้า เสียในแต่ละรอบใช้พลังงานไฟฟ้าจา นวน 296 วัตต์ชั่วโมง และมีต้นทุนต่อหน่วย การผลิต 7.61 บาทต่อลูกบาศก์เมตร จะเห็นว่าพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้เพียงพอกับปริมาณไฟฟ้าที่ต้องการใช้ โดย ในช่วงฤดูร้อนสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้มากกว่าช่วงฤดูฝน |
รายละเอียดการนำไปใช้งาน | |
เอกสาร Final Paper(s) |
|
ทีมวิจัย
หัวหน้าโครงการ
ที่ | นักวิจัย | หน่วยงาน | ตำแหน่งในทีม | การมีส่วนร่วม (%) |
---|---|---|---|---|
1 | ผศ. กิตติกร ขันแกล้ว | คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | หัวหน้าโครงการ | 70 |
2 | ผศ. นุชนาฎ นิลออ | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง | ผู้ร่วมวิจัย | 20 |