การออกแบบระบบสัญญาณไฟจราจรอัจฉริยะแบบเคลื่อนที่ กรณีศึกษาทางเบี่ยง

The design of smart mobile traffic lights system: case study of diversion route

รายละเอียดโครงการ

ปีงบประมาณ 2561
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ประเภทโครงการ โครงการเดี่ยว
ประเภทงานวิจัย
วันที่เริ่มโครงการวิจัย (พ.ศ.) 1 มกราคม 2560
วันที่สิ้นสุดโครงการวิจัย (พ.ศ.) 1 มกราคม 2561
วันที่ได้รับทุนวิจัย (พ.ศ.) 1 มกราคม 2560
ประเภททุนวิจัย งบประมาณรายได้
สถานะโครงการ สิ้นสุดโครงการ(ส่งผลผลิตเรียบร้อยแล้ว)
เลขที่สัญญา
เป็นโครงการวิจัยที่ใช้ในการจบการศึกษา ไม่ใช่
เป็นโครงการวิจัยรับใช้สังคม ไม่ใช่
บทคัดย่อโครงการ บทความวิจัยนี้นำเสนอการอจกแบบระบบสัญญาณฟจราจรอัจฉริยะแบบเคลื่อนที่ กรณีศึกษาทางเบี่ยง เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกและลดการเกิดตุบัติเหตุที่เกิดจากการจราจรทางเบี่ยง เหมาะสำหวับการใช้งานในบริเวณ ที่มีการซ่อมแซมถนน 2 ช่องทางกกรจราจรหรีอบริเวณที่มีการใช้ถนนทางเบี่ยง ระบบสัญญาณไฟจราจรอัจฉริยะถูก ออกแบบให้มีจำนวน 2 เครื่อง ซึ่งระบบสัญญาณไฟจราจรทั้ง 2 เครื่องจะมีการติดต่อสี่ยสารระหว่างกันและทำงาน สัมพันธ์กันผ่านระบบการสื่อสารไร้สาย 2.4 กิกะเฮิรตซ์ ด้วยระยะทางมากกว่า 1 กิโลเมตร โดยแต่ละเครื่องถูกควบคุม การทำงานด้วยไม่โครคอนโทรลเลอร์ มีตัวตรวจรู้ทำหน้าที่ตรวจสอบจำนวนรถที่เคลื่อนที่ผ่านบริเวณทางเบี่ยง และ แสตงผสสัญญาณไฟจราจรผ่านป้ายไฟจราจร ระบบสัญญาณฟจราจรอัจฉริยะทำงานได้ 2 โหมด คือ (1) โหมด อัตโนมัติ และ (2) โหมดที่มีผู้ควบคุม ใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสดรงขนาด 12 โวลด์ จากแบตเตอรี่ ผลการทดสอบ การทำงานของระบบสัญญาณไฟจราจรอัจฉริยะพบว่ สามารถทำงานได้ถูกต้องตามที่ได้ออกแบบ มีระยะ การมองเห็นสัญญาณฟจราจรได้ชัดจนไม่น้อยกว่ 130 เมตร ตัวตรวจรู้สามารถตรวจจับรถไส้ในระยะ 2 เมตร สามารถรับส่งข้อมูลด้วยการสื่อสารไว้สายได้ 1,500 เมตร สูญเสียกำลังไฟฟ้า 25 วัต และใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง ดำสำคัญ: สัญญาณไฟจราจร, การจราจรทางเบี้ยง, ตัวตรวจรู้ทางแสง, ไมโครคอนโทรลเลอร์, การสื่อสารไร้สาย
รายละเอียดการนำไปใช้งาน
เอกสาร Final Paper(s)
  • -

ทีมวิจัย

ที่ นักวิจัย หน่วยงาน ตำแหน่งในทีม การมีส่วนร่วม (%)
1เสนอ สะอาดคณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลศรีวิชัย สงขลาหัวหน้าโครงการ60
2ดรุณี ชายทองคณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลศรีวิชัย สงขลาผู้ร่วมวิจัย20
3รุ่งลาวัลย์ ชูสวัสดิ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลศรีวิชัย สงขลาผู้ร่วมวิจัย20