การประเมินค่าการกัดเซาะดินโดยใช้แบบจำลองลาดชันและน้ำฝน

Assessment of Soil Erosion using Simulated Slope and Rainfall

รายละเอียดโครงการ

ปีงบประมาณ 2562
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ประเภทโครงการ โครงการเดี่ยว
ประเภทงานวิจัย โครงการพื้นฐาน
วันที่เริ่มโครงการวิจัย (พ.ศ.) 1 ตุลาคม 2561
วันที่สิ้นสุดโครงการวิจัย (พ.ศ.) 30 กันยายน 2562
วันที่ได้รับทุนวิจัย (พ.ศ.) 1 ตุลาคม 2561
ประเภททุนวิจัย งบประมาณรายได้
สถานะโครงการ สิ้นสุดโครงการ(ส่งผลผลิตเรียบร้อยแล้ว)
เลขที่สัญญา
เป็นโครงการวิจัยที่ใช้ในการจบการศึกษา ไม่ใช่
เป็นโครงการวิจัยรับใช้สังคม ไม่ใช่
บทคัดย่อโครงการ การจำลองน้ำฝนเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญในการประเมินค่าทางอุทกวิทยา และกระบวนการการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งสามารถประเมินผลได้อย่างรวดเร็ว สามารถจำลองสถานการณ์ได้หลายรูปแบบและมีต้นทุนต่ำ จึงเป็นที่มาของการพัฒนาห้องปฏิบัติการจำลองน้ำฝนของการศึกษานี้ โดยสร้างห้องขนาดกว้าง 3 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 4 เมตร กั้นแผ่นเมทัลชีทด้านข้างโดยรอบ ใช้เครื่องสูบน้ำเพื่อจ่ายน้ำแก่หัวจ่ายน้ำ ซึ่งเป็นตัวกำเนิดฝนจำนวน 3 จุด ใช้หัวจ่ายน้ำ 3 ขนาด คือ 2.00 (เล็ก) 3.18 (กลาง) และ 4.00 (ใหญ่) มิลลิเมตร และควบคุมความเข้มฝนด้วยวาล์วและเครื่องวัดความดันน้ำ ผลการศึกษาพบว่าห้องปฏิบัติการจำลองน้ำฝนสามารถจำลองความเข้มฝนอยู่ในชาวง 100-110, 140-170 และ 184-239 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ค่ากลาง (d50) ของเม็ดฝน เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.86 และ 3.21 มิลลิเมตร เรียงตามหัวจ่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่ เมื่อควบคุมความดันของทุกหัวจ่ายให้เหมาะสมจะได้ความสม่ำเสมอของฝนมากกว่าร้อยละ 80 ใกล้เคียงลักษณะฝนตามธรรมชาติ
รายละเอียดการนำไปใช้งาน
เอกสาร Final Paper(s)
  • -

ทีมวิจัย

หัวหน้าโครงการ
ที่ นักวิจัย หน่วยงาน ตำแหน่งในทีม การมีส่วนร่วม (%)
1ถาวร เกื้อสกูลคณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลศรีวิชัย สงขลาหัวหน้าโครงการ70
2ดร. ภาณุ พร้อมพุทธางกูรคณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลศรีวิชัย สงขลาผู้ร่วมวิจัย30