การออกแบบและวิเคราะห์พฤติกรรมการรับกำลังของเสาเข็มในดินเหนียวอ่อนเพื่อการก่อสร้าง

Design and analysis of pile bearing capacity in soft soil for building construction

รายละเอียดโครงการ

ปีงบประมาณ 2566
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
ประเภทโครงการ โครงการเดี่ยว
ประเภทงานวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนา
วันที่เริ่มโครงการวิจัย (พ.ศ.) 1 ตุลาคม 2565
วันที่สิ้นสุดโครงการวิจัย (พ.ศ.) 30 กันยายน 2566
วันที่ได้รับทุนวิจัย (พ.ศ.) 1 ตุลาคม 2565
ประเภททุนวิจัย งบประมาณรายได้
สถานะโครงการ สิ้นสุดโครงการ(ส่งผลผลิตเรียบร้อยแล้ว)
เลขที่สัญญา
เป็นโครงการวิจัยที่ใช้ในการจบการศึกษา ไม่ใช่
เป็นโครงการวิจัยรับใช้สังคม ไม่ใช่
บทคัดย่อโครงการ ในการออกแบบโครงสร้างเสาเข็มรองรับชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าชายเลน ใกล้ฝั่งทะเล ถือเป็น โครงสร้างที่มีความซับซ้อน โดยต้องพิจารณาถึงแรงในแนวดิ่งกระทำต่อเสาเข็ม (End bearing), แรง เสียดทานด้านข้าง (Friction skin) รวมไปถึงการคำนวณกำลังรับน้ำหนักที่มีสภาพใกล้เคียงความเป็น จริงที่สุดงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มไม้ฝังลึกใน ชั้นดินเหนียว และใช้ออกแบบกราฟการเลือกใช้เสาเข็มที่เหมาะสมทั้งขนาดรูปร่างเพื่อต่อยอด งานวิจัยสำหรับ นำไปออกแบบฐานรากเสาเข็มเพื่อรองรับที่อยู่อาศัยบริเวณป่าชายเลน และวิเคราะห์ พฤติกรรมการรับแรงโดยมีชนิดชั้นดินเป็นแบบเนื้อผสม (Non-Homogeneous Soil) ตามหลัก วิศวกรรม โดยนำตัวอย่างดินมาทำการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินด้วยตะแกรงร่อน (Sieve Analysis) ค่าการ กระจายของเม็ดดิน (Grain Size Distribution) และการทดสอบหาพิกัด Atterberg’s Limit และทำ การจำแนกประเภทของดินตามมาตรฐาน USCS และ AASHTO จากนั้นจึงนำไปออกแบบตาราง เพื่อ ใช้ในการทำการประเมินค่าความแข็งแรงของดิน Qult ในขั้นตอนสุดท้ายผู้วิจัยได้นำเสนอกราฟการ เลือกใช้เสาเข็มไม้และคอนกรีตรูปร่างวงกลมและสี่เหลียม 2 ชนิดโดยเป็นรูปแบบความสัมพันธ์ ระหว่างพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับระยะฝังและกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม ตามทฤษฎีของ Terzaghi เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการนำไปใช้ในหน้างานจริง คำสำคัญ : ฐานรากเสาเข็ม (Pile foundation), ไฟไนท์อีลิเมนต์ (Finite element), กำลังรับแรง แบกทาน (Bearing capacity), ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข (Numerical analysis), ดินเหนียวอ่อน (Soft clay
รายละเอียดการนำไปใช้งาน
เอกสาร Final Paper(s)
  • -

ทีมวิจัย

หัวหน้าโครงการ
ที่ นักวิจัย หน่วยงาน ตำแหน่งในทีม การมีส่วนร่วม (%)
1ชลดา กาญจนกุลวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราชหัวหน้าโครงการ100

บทความวารสาร

ที่ ชื่อบทความ วารสาร/หนังสือ ที่ตีพิมพ์ ระดับบทความ ฐานข้อมูลที่ตีพิมพ์ วันที่ตีพิมพ์
1Some Approaches to Prediction of Permeability Parameters in a Finite Element Program for Early WarningวารสารวิศวกรรมโยธาระดับนานาชาติScopus1 ธันวาคม 2565